ยอดขายอาหารทะเลจากนอร์เวย์ทุบสถิติในไตรมาส 3/2564 ผลพวงจากการเปิดประเทศ แม็คโครนำทัพด้วยปริมาณการนำเข้าสูงที่สุดในประเทศไทย
จากการเริ่มทยอยเปิดประเทศ ทำให้ธุรกิจร้
านอาหารและโรงแรมในประเทศไทยกลั
บมาคึกคักอีกครั้ง ส่งผลให้ยอดการนำเข้
าอาหารทะเลจากนอร์เวย์เติ
บโตแบบก้าวกระโดดในเดือนตุ
ลาคมที่ผ่านมา โดยตั้งแต่เดือนมกราคมถึงตุ
ลาคมปี 2564 ประเทศไทยนำเข้าแซลมอนสดเป็นปริ
มาณ 14,309 ตัน แซงหน้าตัวเลขทั้งปีของปี 2563 ที่มีการนำเข้าอยู่ที่ 12,700 ตัน ด้านมูลค่าการนำเข้าจนถึงเดื
อนตุลาคมของปี 2564 อยู่ที่ 3.43 พันล้านบาท มากกว่าปี 2563 ทั้งปี ที่มีมูลค่าอยู่ที่ 2.7 พันล้านบาท ผู้ค้าส่งชั้นนำของไทยอย่าง แม็คโคร มีปริมาณการนำเข้
าอาหารทะเลจากนอร์เวย์สูงที่สุ
ดในเดือนตุลาคม 2564 สืบเนื่องจากพฤติกรรมของผู้บริ
โภคที่เปลี่ยนแปลงไป มีลูกค้ารายบุคคลหันมาซื้อผลิ
ตภัณฑ์อาหารทะเลที่แม็คโครมากขึ้
น
อัสบีเยิร์น วาร์วิค เรอร์ทเว็ท ผู้อำนวยการภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สภาอุตสาหกรรมอาหารทะเลนอร์เวย์ (NSC) กล่าวว่า “ตลาดอาหารทะเลจากนอร์เวย์ทั่
วโลกทั้งในเชิงของสายพันธุ์
และผลิตภัณฑ์ ฟื้นตัวอย่างรวดเร็วในไตรมาส 3/2564 ซึ่งนับเป็นไตรมาสที่มี
ผลประกอบการดีที่สุดตลอดกาล มูลค่าการส่งออกในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2564 อยู่ที่ 3.15 แสนล้านบาท เติบโตขึ้น 10% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ในเดือนตุลาคมเดือนเดียวมีมูลค่
าการส่งออกอยู่ที่ 4.5 หมื่นล้านบาท เราเชื่อว่าปี 2564 นี้จะเป็นปีที่มีสถิติการส่
งออกอาหารทะเลจากนอร์เวย์ดีที่
สุดเป็นประวัติการณ์ ประเทศไทยยังคงเป็นตลาดที่มี
การเติบโตที่แข็งแกร่งในภูมิ
ภาคเอเชีย เช่นเดียวกับ จีน และ เกาหลีใต้ ซึ่งเป็นตลาดที่เทรนด์
อาหารทะเลจากนอร์เวย์กำลังมาแรง โดยในปีนี้เราเน้นกระชับความสั
มพันธ์กับตลาดในประเทศไทยผ่านช่
องทางออนไลน์และออฟไลน์ รวมไปถึงพันธมิตรคู่ค้าต่าง ๆ ตั้งแต่ ผู้ค้าปลีก ร้านอาหาร บริการควิกคอมเมิร์ซ อินฟลูเอนเซอร์ และสื่อ เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกั
บอาหารทะเลจากนอร์เวย์และวิธี
การประกอบอาหารทะเลที่สะอาด ปลอดภัย สะดวกสบายจากที่บ้าน พันธมิตรค้าส่งของเราอย่าง แม็คโคร เองก็ได้เห็นเทรนด์ที่ลูกค้าทั่
วไปหันมาซื้อผลิตภัณฑ์อาหารที่
สาขามากขึ้น นับเป็นเทรนด์ที่น่าจับตามองเป็
นอย่างมาก”
วิกฤตการณ์โควิด-19 ที่ยาวนาน ได้เปลี่ยนพฤติกรรมการเลื
อกสรรผลิตภัณฑ์อาหารของผู้บริ
โภค มาตรฐานความปลอดภัยและสุขอนามั
ยกลายเป็นสิ่งสำคัญอันดับหนึ่ง รวมถึงประเทศที่มาของอาหาร เพราะผู้บริโภคใส่ใจในแหล่งที่
มาของอาหารและสุ
ขภาพของตนเองมากขึ้น และปลาก็เป็นแหล่งโปรตีนคุ
ณภาพที่เหมาะกับอาหารเพื่อสุ
ขภาพที่ได้รับความนิยม ผู้คนหันมาทำอาหารเองที่บ้านหรื
อซื้ออาหารพร้อมรับประทานมากิ
นที่บ้านมากขึ้น เพื่อลดสัมผัสจากการออกนอกบ้าน ในขณะที่การซื้ออาหารผ่านช่
องทางออนไลน์ของร้านค้าหรือช่
องทางควิกคอมเมิร์ซนั้นเข้
ามาผสานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตวิ
ถีใหม่ได้อย่างลงตัว
นางศิริพร เดชสิงห์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายงานการสื่อสารองค์กร บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า “แม็คโคร เป็นผู้นำเข้
าปลาแซลมอนสดจากประเทศนอร์เวย์ อันดับ 1 ของประเทศไทย ติดต่อกันมา เป็นเวลาหลายปี ถึงแม้จะมีสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโควิด-19 แต่ความต้องการบริ
โภคแซลมอนสำหรับคนไทยยังมี
ความนิยมอย่างต่อเนื่อง โดยแม็คโครตอบโจทย์ความต้
องการที่หลากหลายของลูกค้าทุ
กกลุ่ม ทั้งผู้ประกอบการร้านอาหาร หรือผู้บริโภคทั่วไป ในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นการให้บริการแล่
ปลาสำหรับลูกค้าที่นิยมซื้อยกตั
ว การขายเป็นชิ้นส่วนต่าง ๆ ตามความนิยมบริโภค หรือจะเป็นแบบแช่แข็ง รมควัน ก็มีให้เลือกมากมาย
ซึ่งสิ่งที่ทำให้แซลมอนจากนอร์เวย์เป็นที่ยอมรับจากกลุ่มลูกค้าของเราก็คือ คุณภาพ ความปลอดภัย มาจากแหล่งที่เชื่อถือได้ และระดับราคาที่ทำให้ทุกคนเข้าถึงวัตถุดิบเพื่อสุขภาพ ผู้ประกอบการจำนวนมากจึงมองเห็นโอกาสในการขายเมนูจากแซลมอนจากนอร์เวย์ นอกจากนี้เรายังมีหลายช่องทางในการจำหน่ายแซลมอนจากนอร์เวย์ ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ เช่น แม็คโครคลิก และแม็คโครแอปพลิเคชั่น”
จึงไม่น่าแปลกใจที่
แซลมอนจากนอร์เวย์และนอร์วีเจี
ยนซาบะมีการเติบโตในเชิงมูลค่
าที่สูงที่สุ
ดในตลาดประเทศไทยในปี 2564 แซลมอนเป็นปลาที่
สามารถนำไปประกอบอาหารได้
หลากหลาย ทั้งอาหารตะวันตก เอเชีย หรือแม้กระทั่งไทยเอง และยังคงความเป็นปลายอดฮิ
ตตลอดกาลของคนไทยทั้งที่ร้
านอาหารและการบริโภคเองที่บ้าน ในขณะที่นอร์วีเจียนซาบะเริ่มมี
อัตราการเติบโตที่น่าสนใจ จากการเป็นเมนูยอดนิยมในร้
านอาหารญี่ปุ่น และความเป็นเอกลักษณ์ของปลาที่
มีเนื้อฉ่ำ รสชาติเข้มข้น แตกต่างจากซาบะที่มาจากแหล่งอื่
นๆ อาหารทะเลจากนอร์เวย์ยั
งคงครองตำแหน่งที่แข็งแกร่
งในตลาดประเทศไทยและทั่วโลก ผู้บริโภคไม่เพียงหั
นมาประกอบอาหารทะเลเองที่บ้
านเท่านั้น แต่ยังเริ่มให้ความสำคัญกั
บความยั่งยืนและรสชาติมากขึ้น ซึ่งอาหารทะเลจากนอร์เวย์
สามารถตอบโจทย์ตรงส่วนนี้ได้เช่
นกัน หากเทรนด์การบริโภคที่บ้านยั
งทรงตัวแม้ร้านอาหารเริ่มกลั
บมาเปิดแล้ว อาหารทะเลจากนอร์เวย์ดูน่าจะมี
แนวโน้มที่สดใสต่อไป โดยสภาอุตสาหกรรมอาหารทะเลนอร์
เวย์มีแผนการตลาดที่จะส่งเสริ
มอาหารทะเลอื่น ๆ รวมไปถึงอาหารทะเลจำพวกเปลือก (Shellfish) ในประเทศไทยในปี 2565 ที่จะถึงนี้ และมุ่งมั่นที่จะรั
กษามาตรฐานความปลอดภั
ยของอาหารที่เข้มงวด ผ่านเครื่องหมายการค้า “Seafood from Norway” สัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงแหล่งที่
มาของอาหารทะเลคุณภาพจากนอร์
เวย์